TR.SHE-004 หลักสูตร โครงการอนุรักษ์การได้ยิน
หลักการและเหตุผล |
โดยที่กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559 กำหนดให้นายจ้างจัดทำมาตรการอนุรักษ์การได้ยินในสถานประกอบกิจการในกรณีที่สภาวะการทำงาน ในสถานประกอบกิจการมีระดับเสียงที่ลูกจ้างได้รับเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทำงาน 8 ชั่วโมง ตั้งแต่ 85 เดซิเบลเอ ขึ้นไป ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด
(1) นโยบายการอนุรักษ์การได้ยิน
(2) การเฝ้าระวังเสียงดัง (Noise Monitoring)
– การสำรวจและตรวจวัดระดับเสียง
– การศึกษาระยะเวลาสัมผัสเสียงดัง
– การประเมินการสัมผัสเสียงดังของลูกจ้าง
(3) การเฝ้าระวังการได้ยิน (Hearing Monitoring)
(4) หน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้อง
(5) การจัดทำและติดแผนผังแสดงระดับเสียง
(6) การอบรมให้ความรู้
(7) การประเมินและทบทวนการจัดการมาตรการอนุรักษ์การได้ยิน
ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องตามที่กฎหมายกำหนดรวมถึง ป้องกันและลดปัญหาอันตรายจากเสียงดัง หน่วยงานหรือสถานประกอบกิจการ จึงจำเป็นต้องฝึกอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักให้กับพนักงาน ในเรื่องอันตรายจากเสียงดัง และการควบคุม ป้องกัน รวมถึงการใช้งานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยที่ถูกต้องเหมาะสม
วัตถุประสงค์ |
|
กลุ่มเป้าหมาย |
|
ระยะเวลาการอบรม |
6 ชั่วโมง (1 วัน) |
รูปแบบการฝึกอบรม |
|
ราคาค่าอบรม |
ราคาปกติ 19,000 บาท
|
เนื้อหาหลักสูตร |
08.30-08.45 น. ลงทะเบียน
|
รับจัดฝึกอบรมภายในองค์กร : หลักสูตรด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
หลักการและเหตุผล ตามกฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือ...
-
หลักการและเหตุผล ตามกฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือค...
-
หลักการและเหตุผล ตามกฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือ...
-
หลักการและเหตุผล เนื่องด้วยปัจจุบัน ประเทศไทยได้ประกาศใช้ พรบ.ความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแว...