TR.SHE-028 หลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร (จป.บริหาร)
หน่วยฝึกอบรมหลักสูตร จป.
หลักการและเหตุผล |
ตามกฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคณะบุคคลเพื่อดำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. 2565 ลงวันที่ วันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2565 กำหนดให้นายจ้างของสถานประกอบกิจการตามบัญชี 1 บัญชี 2 และบัญชี 3 ตามที่กระทรวงกำหนด ต้องจัดให้ลูกจ้างได้รับการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน และแต่งตั้งให้เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับต่างๆ คือ ระดับหัวหน้างาน ระดับบริหาร ระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง และระดับวิชาชีพ
ในกรณีที่ลูกจ้างระดับผู้บริหารไม่มีคุณสมบัติตามข้อ 11 ให้นายจ้างดำเนินการให้ลูกจ้างนั้นเข้ารับการฝึกอบรมตามข้อ 11 (1) เพื่อแต่งตั้งให้เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร ทั้งนี้ ภายในหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันที่นายจ้างแต่งตั้งให้เป็นลูกจ้างระดับผู้บริหาร
ทั้งนี้ การดำเนินการฝึกอบรมเพื่อให้ลูกจ้างมีคุณสมบัติ เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับต่างๆ ต้องปฏิบัติตามข้อ 43 กำหนดให้นายจ้างหรือผู้ให้บริการด้านการฝึกอบรมดำเนินการฝึกอบรมเพื่อให้ลูกจ้างมีคุณสมบัติ เป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างานและระดับบริหาร ทั้งนี้ หลักสูตร การฝึกอบรม คุณสมบัติของวิทยากร และการดำเนินการฝึกอบรมของนายจ้างหรือผู้ให้บริการ ด้านการฝึกอบรมให้เป็นไปตามที่อธิบดีประกาศกำหนด
ดังนั้นเพื่อดำเนินการให้สอดคล้องตามที่กฎหมายกำหนด เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างานต้องเป็นลูกจ้างระดับหัวหน้างานและมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้
(1) ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับระดับบริหาร
(2) เคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหารตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549
(3) มีคุณสมบัติตามข้อ 21 แล้วแต่กรณี
วัตถุประสงค์ |
|
กลุ่มเป้าหมาย |
|
ระยะเวลาการอบรม |
12 ชั่วโมง (2 วัน) |
รูปแบบการฝึกอบรม |
|
ราคาค่าอบรม In-House |
|
วิทยากรผู้สอน |
|
เนื้อหาหลักสูตร | |
---|---|
วันที่ 1 | หัวข้อการอบรม |
08.30-09.00 น. |
ลงทะเบียน ทำแบบทดสอบก่อนอบรม |
09.00 – 10.30 น. | หมวดวิชาที่ 1: ความรู้เกี่ยวกับการบริหาร จัดการด้านความในการทำงาน และบทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริหาร
|
10.30 – 10.45 น. | พักเบรก |
10.45 – 12.00 น. |
|
12.00 – 13.00 น. | พักเที่ยง |
13.00 – 14.30 น. | หมวดวิชาที่ 2: กฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
|
14.30 – 14.45 น. | พักเบรก |
14.45 – 16.30 น. |
|
วันที่ 2 | |
08.45 – 09.00 น. | ลงทะเบียน |
09.00 – 10.30 น. | หมวดวิชาที่ 3: ระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
|
10.30 – 10.45 น. | พักเบรก |
10.45 – 12.00 น. |
|
12.00 – 13.00 น. | พักเที่ยง |
13.00 – 14.30 น. |
|
14.30 – 14.45 น. | พักเบรก |
14.45 – 16.30 น. |
|
16.30 – 17.00 น. |
ทำแบบทดสอบหลังอบรม *** มอบวุฒิบัตร (Certificate) |
หลักสูตรด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
-
หลักการและเหตุผล ตามกฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือ...
-
หลักการและเหตุผล ตามกฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือค...
-
หลักการและเหตุผล ตามกฎกระทรวงการจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน บุคลากร หน่วยงาน หรือ...
-
หลักการและเหตุผล เนื่องด้วยปัจจุบัน ประเทศไทยได้ประกาศใช้ พรบ.ความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแว...